วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

LAB 9 แบบจำลอง ราสเตอร์

ตัวอย่างเป็นการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมสร้างที่เหมาะสมในการสร้างฝังกลบขยะ


ขั้นตอนที่ 1 กำหนดประเด็นปัญหา
1.ความเหมาะสมในแต่ละระดับพื้นที่     2.ในแต่ละพื้นที่มีความเหมาะสมระดับใดบ้าง
ขั้นตอนที่ 2 กำหนดปัจจัยหรือตัวแปรที่ใช้วิเคราะห์
1.ความลาดชัน 2.ลักษณะชั้นหินฐาน
3.ระยะห่างจากถนนสายหลัก 4.ระยะห่างจากชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 เตรียมข้อมูล
ขั้นตอนที่ 5 กำหนดค่าคะแนนและค่าถ่วงน้าหนักของตัวแปร
ขั้นตอนที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนที่ 7 วิเคราะห์ข้อมูลซ้อนทับ
ขั้นตอนที่ 8 จัดกลุ่มพื้นที่เหมาะสม

วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เปิดโปรแกรม ArcMap 10 สร้างโฟลเดอร์ ไว้ที่RTArcGIS

ตั้งชื่อว่าLandfill_ตามด้วยชื่อ

ตัวแปรที่ต้องเตรียมข้อมูลตัวที่ 1 คือ ความลาดชัน
ไปที่Catalog >>Landfill เกิดข้อมูลChon_alv และ Chon_pro

จากนั้นเปิดคำสั่ง IDW ไปที่3D Anlysis Tools>>Raster Interpolation>>IDW

ช่องInput Point Feature ให้เลือก Chon_elv ช่อง Z Value Field ให้เลือก ele ช่องOutput raster กดรูปแฟ้ม แล้วจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที่สร้างไว้ ตั้งชื่อว่าdem และช่องOutput cell size ให้ใส่ค่าเป็น 40 แล้วคลิก Environment

คลิกที่คาว่า Processing Extent เลือก Same as Layer Chon_pro

และคลิกที่Raster Analysis ที่ช่อง Maskให้เลือกเป็น Chon_pro แล้วคลิกOK

จะได้ข้อมูล dem ขึ้นมา จากนั้นเปิดคำสั่งSlope ไปที่3D Analysis Tools>>Raster Surface>>Slope

ช่อง Input raster ให้เลือกข้อมูล dem และ ช่อง Output raster ให้จัดเก็บที่โฟลเดอร์ที่สร้างไว้ตั้งชื่อว่า slp แล้วคลิกSave

และช่องOutput measurement เลือกDEGREE แล้วคลิก OK

จะได้ข้อมูล slp ขึ้นมา จากนั้นเปิดคำสั่งReclassifly ไปที่3D Analysis Tools>>Raster Reclass >>Reclassifly

ช่องInput raster เลือกข้อมูล slpแล้วคลิก Reclassify

ช่องClassifation Method ให้เลือกแบบ Manual

เมื่อเลือกแล้วไม่สามารคตั้งค่าClassได้ โดยให้เลือกรูปแบบของ Classifation Method ให้เป็นแบบอื่นก่อนแล้ว จึงตั้งค่าClass เป็น 4 คลาสตามตารางค่าคะแนนข้างต้น

จากนั้นเลือกรูปแบบให้เป็นแบบManual เหมือนเดิม

จากนั้นใส่ค่าของแต่ละช่วงคลาส ตามตารางด้านบนโดยใส่ค่าสูงสุดของแต่ละช่วงลงไป คือ 5,15,30ตามลาดับ แล้วคลิกOK

จากนั้นใส่ค่าคะแนนของตามช่วงคลาส ที่ช่อง New Value ตามตารางข้างต้น คือ3,2,1 และ 0 ตามลำดับ

ช่องOutput raster ให้จัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที่สร้างไว้ ตั้งชื่อ slp_re แล้วคลิกOK

จะได้ข้อมูลslp_reขึ้นมา

เตรียมข้อมูลตัวแปรตัวที่ 2 ลักษณะหินฐาน
ให้เปิดข้อมูลChon_geo

เมื่อได้ข้อมูลChon_geoขึ้นมาให้คลิกขวาที่ข้อมูลแล้วคลิกที่Open Attribute Table

จากนั้นหาFliedที่ใช้ในการแบ่งคลาส

จากนั้นเลื่อนไปที่Flied ที่ชื่อว่าClass ให้คลิกขวา แล้วคลิก Delete Flied

จากนั้นให้คลิกAdd Flied

เปลี่ยนเป็นClass เลือกประเภทเป็นShort Integer และFlied Properties ใส่ค่าเป็น2 แล้วคลิกOK

จากนั้นคลิก Select By Attribute

คลิกชื่อFliedที่ต้องการใช้ข้อมูล1ครั้ง จากนั้นคลิกที่Get Unique Value

ก็จะมีข้อมูลขึ้นมาให้เลือกเพื่อแบ่งคลาสตามตารางด้านบน คลาสที่ 1 หินทราย หินทรายแป้ง หินกรวด
ให้คลิกที่ชื่อFlied แล้วคลิกเครื่องหมาย = และคลิกข้อมูลที่ต้องการ

ในคลาสที่ 1 คือ หินทราย หินทรายแป้ง หินกรวด มีข้อมูลหลายตัวให้เลือก ให้เลือกทั้งหมดตามที่มีข้อมูลหินทราย หินทรายแป้ง หินกรวด โดยใช้ตัวเชื่อมคือ OR แล้วตามด้วยวิธีด้านบนอิกครั้งจนครบตามต้องการ

จากนั้นคลิกเลือกข้อมูลตามการแบ่งคลาส เมื่อได้ครบข้อมูลครบแล้ว ให้คลิก Apply

จะได้ข้อมูลตามที่เราเลือกไว้

จากนั้นไปที่Flied ที่ชื่อว่าClass แล้วคลิกขวา และคลิกคาว่า Flied Calculator

ให้ใส่ เลขที่คลาส ในช่องClass ตามตารางด้านบน ดังนั้นให้ให้เลข 1 แล้วคลิก OK

จากนั้นเลือกข้อมูลคลาสที่ 2 คือ หินบะซอลต์ หินปูน หินตะกอน ให้คลิกที่Clear Select และคลิกSelect By Attribute

ทำแบบเดียวกับวิธีด้านบน แต่ให้เลือกข้อมูลตามแต่ละ ซึ่งคลาสที่ 2 ให้เลือกข้อมูลที่ประกอบไปด้วยหินบะซอลต์ หินปูน หินตะกอน เมื่อเลือกได้แล้วให้คลิก Apply

ทำแบบเดียวกับคลาสที่ 1 โดยไปที่Flied ที่ชื่อว่าClass แล้วคลิกขวา และคลิกคาว่า Flied Calculator

แล้วใส่ เลข 2 ในช่อง Class แล้วคลิก OK

จากนั้นเลือกข้อมูลคลาสที่ 2 คือ หินบะซอลต์ หินปูน หินตะกอน ให้คลิกที่Clear Selection และคลิกSelect By Attribute

ทำแบบเดียวกับวิธีด้านบน แต่ให้เลือกข้อมูลตามแต่ละ ซึ่งคลาสที่ 3 หินโคลน หินดินดาน หินแกรนิต หินไนส์ ควอร์ตไซต์ ให้เลือกข้อมูลที่ เมื่อเลือกได้แล้วให้คลิก Apply

ทำแบบเดียวกับคลาสที่ 2 โดยไปที่Flied ที่ชื่อว่าClass แล้วคลิกขวา และคลิกคาว่า Flied Calculator

แล้วใส่ เลข 3 ในช่อง Class แล้วคลิก OK

เมื่อแบ่งข้อมูลตามคลาสเรียบร้อยแล้วให้ คลิกClear Selectionแล้ว ปิดตารางได้เลย

จากนั้นเปิดเครื่องมือ Polygon to Raster ขึ้นมา

ช่องInput Featuers ให้เลือก Chon_geo ช่อง Value Flied เลือกเป็น Class และช่องOutputให้จัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์สร้างไว้ ตั้งชื่อว่าgeo_re แล้วคลิก Save

และช่อง Cell size ให้เปลี่ยนเป็น 40 แล้วคลิก OK

จะได้geo_re ขึ้นมา

ตัวแปรที่ต้องเตรียมข้อมูลตัวที่ 3 คือ ระยะห่างจากถนนสายหลัก
ให้เปิดข้อมูลChon_tran

เมื่อเปิดข้อมูล Chon_tranขึ้นมาแล้ว จากนั้นให้เปิดคำสั่งEuclidean distanceโดยไปที่ArcToolbox>>Spatial Analysis Tools >>Distance>>Euclidean distance

 ช่องInput raster ให้เลือกChon_tran และช่องOutput ใหจัดเก็บไว้ท็โฟลเดอร์ที่สร้างไว้ ตั้งชื่อว่าtran

และช่องOutput cell size ให้ส่าค่า 40 แล้วคลิกEnvironment

คลิกที่Processing Extent ช่องExtent ให้เลือกเป็น Same as Leyer Chon_pro

และคลิกที่ Raster Analysis ที่Maskให้เลือกเป็น Chon_pro แล้วคลิก OK และOK

 ก็จะได้ข้อมูลTranขึ้นมา จากนั้นเปิดคำสั่งReclassifyขึ้นมา

ช่อง Input ให้เลือกเป็นข้อมูลtran แล้วคลิก Classify

ช่อง Classfication Method ให้เลือกเป็นแบบManual จานวน 4 คลาส และให้ใส่ค่ามากที่สุดในแค่ละคลาสตามตารางด้านบน คือ 1000, 2000, 3000 และ>3000 ตามลาดับ ในช่องBreak Value

และใส่ค่าคะแนนในแต่ละคลาสตามตารางด้านบน จากนั้นคลิกที่แฟ้มเพื่อจัดเก็บ

จัดเก็บไว้ที่โฟลเดอร์ที่สร้างไว้ ตั้งชื่อว่าtran_re แล้วคลิกSave และคลิกOK

จะได้ข้อมูลTran_reขึ้นมา

ตัวแปรที่ต้องเตรียมข้อมูลตัวที่ 4 คือ ระยะห่างจากถนนชุมชน
ให้เปิดข้อมูลChon_vill

เมื่อได้ ข้อมูลChon_vill มาแล้ว จากนั้นเปิดคำสั่ง Euclidean distanceโดยไปที่ArcToolbox>>Spatial Analysis Tools >> Distance>>Euclidean distance

ช่องInput raster ให้เลือกChon_vill และช่องOutput ให้จัดเก็บไว้ที่โฟลเดอร์ที่สร้างไว้ ตั้งชื่อว่าvill

และช่องOutput cell size ให้ส่าค่า 40 แล้วคลิกEnvironment

คลิกที่Processing Extent ช่องExtent ให้เลือกเป็น Same as Leyer Chon_pro

และคลิกที่ Raster Analysis ที่Maskให้เลือกเป็น Chon_pro แล้วคลิก OK และOK

ก็จะได้ข้อมูลvillขึ้นมา จากนั้นเปิดคำสั่งReclassifyขึ้นมา

ช่อง Input ให้เลือกเป็นข้อมูลvillแล้วคลิก Classify

ช่อง Classfication Method ให้เลือกเป็นแบบManual จานวน 4 คลาส และให้ใส่ค่ามากที่สุดในแค่ละคลาสตามตารางด้านบน คือ 1000, 2000, 3000 และ>3000 ตามลาดับ ในช่องBreak Value

และใส่ค่าคะแนนในแต่ละคลาสตามตารางด้านบน จากนั้นคลิกที่แฟ้มเพื่อจัดเก็บ

จัดเก็บไว้ที่โฟลเดอร์ที่สร้างไว้ ตั้งชื่อว่าvill_reclass แล้วคลิกSave และคลิกOK

ก็จะได้ข้อมูลVill_reclassขึ้นมา

วิเคราะห์ข้อมูลซ้อนทับ
การวิเคราะห์ข้อมูลซ้อนทับ จากสูตร 
โดย W คือ ค่าถ่วงน้าหนัก         S คือ ค่าคะแนน

ก่อนอื่นให้เรียงข้อมูลตามตารางด้านบน

จากนั้นเปิดคาสั่ง Raster Calculator โดยไปที่ ArcToolbox >> Spatial Analyst Tools >>Map Algebra >>Raster Calculator


ก็จะได้หน้าต่าง Raster Calculator เป็นการรวมค่าทั้งหมด
ให้ใส่สูตรคือ (3*slp_re)+(2*geo_re)+(3*tran_re)+(4*vill_reclass) ลงไป แล้วคลิกแฟ้ม

จัดเก็บไว้ที่โฟลเดอร์ ที่สร้างไว้ตั้งชื่อว่าsum คลิกSave แล้วคลิกOK

จะได้ข้อมูลsumขึ้นมา

การจัดกลุ่มพื้นที่ความเหมาะสม

เปิดคำสั่งRacalssify

ช่องInput เลือกข้อมูล sum แล้วคลิกReclassify
 Classfication Method เลือกแบบ Manual จานวน3คลาส ช่องBreak Value โดยที่แต่คลาสจะแบ่งค่าตามความเหมาะสม
โดย X คือ ค่าเฉลี่ย = 21.28
SD คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 6.19
กลุ่มที่ 1 มีความเหมาะสมน้อย ใช้สูตร X-SD = 21.28 - 6.19 = 15.09
กลุ่มที่ 2 เหมาะสมปานกลาง ใช้สูตร X+SD = 21.28 + 6.19 = 27.47
กลุ่มที่ 3 มีความเหมาะสมมาก ให้ใส่ค่าสูงสุด = 36

ในช่อง New Value แบ่งตามความเหมาะสมคือ
1 คือ มีความเหมาะสมน้อย , 2 คือ มีความเหมาะสมปานกลาง , 3 คือ มีความเหมาะสมมาก
จากนั้นจัดเก็บ ตั้งชื่อว่า final

 ก็จะได้ข้อมูลfinal ขึ้นมา จะได้ว่า ความเหมาะสมก็แยกตามที่กาหนดไว้

จากนั้น ไปคลิกขวาที่ข้อมูล คลิกOpen Attribute Table

ที่ช่อง COUNT จะบอกถึงจานวนพื้นที่(มีหน่วยเป็นไร่) ความเหมาะสม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น