วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Lab 6 การวิเคราะห์พื้นผิว

การสร้างเส้น Contour


เปิดโปรแกรม ArcMap10 ขึ้นมา   ->   ไปที่ Folder Inter_tik ที่เราได้ทาการ Save ไว้ครั้งที่แล้ว   ->   จากนั้นลากข้อมูล idw2 มาวางที่ Display Area

จากนั้นสร้าง Folder ขึ้นมาใหม่ โดยตั้งชื่อ Surface_tik -> จากนั้นไปนำเครื่องมือ 3D Analyst ออกมา

แล้วคลิกที่เครื่องมือ Create Contours -> แล้วคลิกไปยังพื้นที่ที่ต้องการจะแสดง

คลิกขวาที่ idw2   ->   คลิก Properties   ->   คลิก Symbology   ->   คลิก Streched   ->   ทำการเลือกสีที่ Color Ramp  ->   กด OK

ถ้าต้องการลบให้ไปคลิก Select Elements ให้เป็นรูปลูกศรก่อน จากนั้นคลิกที่เส้นที่ต้องการจะลบให้ขึ้นเป็นเส้นปะก่อน -> กด Delete

ไปที่ ArcToolbox   ->    คลิก 3D Analyst tools    ->    คลิก Raster Surface    ->    คลิก Contour

จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นมา   ->   ช่อง Input raster เลือก idw2   ->   ช่อง Output polyline features ให้เราตั้งชื่อ Contour โดยไปเก็บไว้ที่ Folder ที่เราได้สร้างไว้ในตอนแรก   ->   ช่อง Contour interval ใส่ 100   -> กด OK

จะมีเส้น Contour ปรากฏขึ้นมา ดังรูป

คลิกขวาที่ Contour   ->   คลิก Properties  ->   คลิก Symbology   ->   คลิก Categcries  ->   คลิก Unique values   ->   ช่อง Value Field เลือก CONTOUR   ->   คลิก Add All Values   ->   Apply

คลิก Labels  ->  ช่อง Text String Label Filed เลือก CONTOUR  ->  เปลี่ยนสี ขนาด ตัวอักษร -> กด OK

คลิกขวาที่ Contour  ->  คลิก Label Features

การวิเคราะห์แนวการมองเห็น(Line of sight)

จากนั้น Zoom In ไปที่พื้นที่ต้อง   ->   คลิก Create Line of Sight

จากนั้นคลิกที่พื้นที่ต้องการแล้วลากให้เกิดเส้น จะใช้สาหรับวิเคราะห์การมองเห็น เช่น เพื่อวางแผนตั้งกองกำลังทหาร การสร้างหอคอย เส้นสีแดงจะบอกบริเวณที่ถูกกีดขวางจากจุดสังเกต เส้นสีเขียวจะบอกบริเวณที่สามารถมองเห็นจากจุดสังเกต ดังภาพ

ถ้าต้องการลบให้ไปคลิก Select Elements ให้เป็นรูปลูกศรก่อน จากนั้นคลิกที่เส้นที่ต้องการจะลบให้ขึ้นเป็นเส้นปะก่อน   ->   กด Delete

การวิเคราะห์ทิศทางการไหล(Steepest pats)

ทำการ Zoom In พื้นที่ที่ต้องการ   ->   คลิก Create Steepest Path

นำเมาส์ไปคลิกพื้นที่ที่ต้องการ จากนั้นจะมีเส้นปรากฏขึ้นมา ซึ่งจะเป็นการดูทิศทางการไหลของวัตถุที่ถูกปล่อยไปตามลักษณะของพื้นที่ โดยจะมีเส้นทางการไหลไปจนถึงบริเวณที่มีความลาดชันมาก ดังภาพ

ถ้าต้องการลบให้ไปคลิก Select Elements ให้เป็นรูปลูกศรก่อน จากนั้นคลิกที่เส้นที่ต้องการจะลบให้ขึ้นเป็นเส้นปะก่อน -> กด Delete

การแสดงภาพตัดขวาง(Profile)

กด Full Extent -> คลิก Interpolate Line

จากนั้นคลิกแล้วลากให้เกิดเส้น ดังภาพ

จากนั้นคลิกขวาที่เส้น คลิก Properties  ->  คลิก Symbol ทำการเปลี่ยนสี   ->   กด OK   ->   ทำแบบนี้ทุกเส้น โดยเลือกสีให้แตกต่างกัน

คลิกที่ Create Profile Graph   ->   จะมีหน้าต่าง Profile graph Title ปรากฏขึ้นมา ซึ่งจะเป็นแสดงระดับความสูงของพื้นผิว สามารถช่วยในการประเมินความยากง่ายของเส้นทาง หรือความเป็นไปได้ในการสร้างถนน หรือทางรถไฟ ดังภาพ

การหาความลาดชัน (Slope)
-แบบองศา (Degree)

ไปที่ ArcToolbox   ->  คลิก 3D Analyst Tools   ->   คลิก Raster Surface   ->   คลิก Slope   ->   จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นมา

ช่อง Input raster เลือก idw2   ->   ช่อง Output raster ให้ทำการตั้งชื่อว่า sl_deg แล้ว Save ไว้ใน Folder ที่ได้สร้างไว้ในตอนแรก   ->   กด Save   ->   ช่อง Output measurement… เลือก DGEREE   ->   กด OK

-แบบเปอร์เซ็นต์ (Percent rise)

ไปที่ ArcToolbox   ->   คลิก 3D Analyst Tools   ->   คลิก Raster Surface   ->   คลิก Slope

ช่อง Input raster เลือก idw2  ->  ช่อง Output raster ให้ทำการตั้งชื่อว่า sl_per แล้ว Save ไว้ใน Folder ที่ได้สร้างไว้ในตอนแรก   ->  กด Save  -> ช่อง Output measurement… เลือก PERCENT_RISE  -> กด OK

ซึ่งจะแสดงอยู่ในรูปของข้อมูลแรสเตอร์ หรือแบบจาลองความสูงเชิงเลข ดังภาพ

การวิเคราะห์ทิศทางการหักเหของความลาดชัน (Aspect)

ไปที่ ArcToolbox   ->   คลิก 3D Analyst Tools  ->  คลิก Raster Surface  ->   คลิก Aspect  ->  จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นมา ดังภาพ

ช่อง Input raster เลือก idw2  ->  ช่อง Output raster ให้ทำการตั้งชื่อว่า aspert โดยเก็บไว้ที่ Folder ที่ได้สร้างไว้ จากนั้นกด Save   ->  กด OK

จากนั้นข้อมูลก็จะแสดงขึ้นมา เป็นความลาดชันที่จะรับแสง ดังภาพ

วิเคราะห์การตกกระทบของแสง(Hillshade)

ไปที่ ArcToolbox  ->  คลิก 3D Analyst Tools  ->  คลิก Raster Surface  ->  คลิก Hillshade

ช่อง Input raster เลือก idw2  ->  ช่อง Output raster ให้ทำการตั้งชื่อว่า hill โดยเก็บไว้ที่ Folder ที่ได้สร้างไว้ จากนั้นกด Save  ->  กด OK

จะได้ภาพที่แสดงความสว่างและความมืดที่พื้นผิวจะได้รับ เมื่อให้แสงสว่างจากมุมที่กาหนด สามารถใช้สาหรับเพิ่มความลึกในการมองเห็นในลักษณะของสามมิติ ดังภาพ

วิเคราะห์พื้นที่การมองเห็น (Viewshed)

ไปที่คลิก Catalog   ->   คลิก KANCHANABURI   ->   คลิก Kanburi   ->   คลิก AMPHOE  ->  จากนั้นลาก AMPHOE มาวางที่ Display Area ดังภาพ

 คลิกขวา AMPHOE  ->  คลิก Symbology  ->  คลิก Categories  ->  คลิก Unique values  ->  ช่อง Color Ramp เลือกสี  ->  คลิก Add All Values   ->  กด Advanced   ->   คลิก Transparency เลือก AREA  ->       กด OK   ->   กด OK 

จะปรากฏขึ้นมา ดังภาพ

คลิกขวาที่ AMPHOE  ->  คลิก Properties   ->   คลิก Display   ->  ช่อง Transparent ใส่ 70  ->  กด OK


คลิกขวา AMPHOE  ->  คลิก Symbology   ->   กด Advanced   ->   คลิก Transparency เลือก none -> กด OK   ->   กด OK

จะปรากฏขึ้นมา ดังภาพ

พื้นที่การมองเห็น

ไปที่ Catalog -> คลิกขวาที่ Inter_tik -> เลือก New -> คลิก Shapefile

จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้น ช่อง Name ให้ตั้งชื่อ  ->  ช่อง Feature Type เลือก Point  ->  คลิก Edit

คลิก Select   ->   คลิก Projected Coordinate… ->   คลิก UTM   ->   คลิก Asia   ->   คลิก Indian 1975 UTM Zoon 47 N   ->  กด Add   ->  กด OK  ->   กด OK

คลิก Editor  ->   คลิก Start Editor

คลิก resort  ->   คลิก OK   ->   คลิก Continue

ไปที่ Create Features  ->  คลิก resort  ->  คลิก Point  ->  จากนั้นคลิกพื้นที่ที่ต้องการ ดังภาพ

คลิก Editor -> คลิก Save Editor -> คลิก Stop Editing

จากนั้นทำการคลิกที่จุดตรง resort แล้วทำการเลือกสัญลักษณ์  ->  กด OK

ไปที่ ArcToolbox   ->  คลิก 3D Analyst Tools   ->   คลิก Raster Surface  ->  คลิก Viewshed  ->  จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นมา ดังภาพ

ช่อง Input raster เลือก idw2  ->  ช่อง Input point … เลือก resort  ->  ให้ตั้งชื่อว่า view  ->  กด Save  -> กด OK

จากนั้นจะแสดงพื้นที่ที่สามารถมองเห็นได้จากจุดสังเกต สีเขียวคือพื้นที่ที่สามารถมอง สีชมพูคือพื้นที่ที่ไม่สามารถมอง ดังภาพ

การประมาณปริมาตรในการขุดและถมที่ (Cut-and-Fill)

ไปที่ Catalog   ->  คลิก Prachinburi   ->  คลิก Cat_Fill เลือก DEM_AFTER กับ DEM_BEFORE มาวางที่ Display Area

คลิกขวาที่ DEM_BEFORE  ->  คลิก Zoom To Layer

ไปที่ ArcToolbox  -> คลิก 3D Analyst Tools  ->  คลิก Raster Surface  ->  คลิก Cut Fill  ->  จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นมา ดังภาพ

ช่อง Input before … เลือก DEM_BEFORE  ->  ช่อง Input after … เลือก DEM_AFTER  ->  ช่อง Output raster ให้ตั้งชื่อ  ->  กด Save  ->  กด OK

จากนั้นคลิกขวาที่ cutfill   ->   คลิก Open Attribute Table

จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Table ขึ้นมา ถ้านำเม้าท์ไปคลิกที่ช่องในตารางให้เป็นสีฟ้า ก็จะแสดงข้อมูลพื้นที่นั้นขึ้นมา ดังภาพ




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น